ลักษณะพันธุกรรมบางลักษณะที่ควบคุมโดยยีนบนออโตโซม
ที่ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายของแต่ละเพศ เช่น ลักษณะขนหางของไก่ไก่เพศผู้มีขนหางได้
2 แบบ คือ ขนหางสั้น และขนหางยาว
ส่วนไก่เพศเมียมีเฉพาะขนหางสั้นเท่านั้น
การมีขนหางยาวจึงถูกจำกัดให้แสดงออกเฉพาะในไก่เพศผู้เท่านั้นไม่ว่าจะมีจีโนไทป์แบบใดก็ตามลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกเฉพาะเพศ เรียกว่า พันธุกรรมจำกัดเพศ
เช่น ลักษณะขนไก่แบบคอร์ค และขนไก่แบบเฮน โดย จีน H ควบคุมลักษณะขนแบบเฮน และจีน h ควบคุมลักษณะขนแบบคอร์ค ดังนี้
ตัวเมีย จีโนไทป์ ตัวผู้
ขนเฮน HH ขนเฮน
ขนเฮน Hh ขนเฮน
ขนเฮน hh ขนคอร์ค
ขนเฮนมีลักษณะขนหางสั้น ส่วนขนคอร์คมีลักษณะขนหางยาวโค้งสวยงาม
ตัวเมีย จีโนไทป์ ตัวผู้
ขนเฮน HH ขนเฮน
ขนเฮน Hh ขนเฮน
ขนเฮน hh ขนคอร์ค
ขนเฮนมีลักษณะขนหางสั้น ส่วนขนคอร์คมีลักษณะขนหางยาวโค้งสวยงาม
จีโนไทป์แบบ HH
และ Hh ต่างแสดงขนแบบเฮนทั้งเพศผู้และเพศเมีย ส่วน จีโนไทป์แบบ hh ในเพศเมียแสดงขนเฮนในเพศผู้แสดงขนคอร์ค
ทั้งนี้เพราะลักษณะทางพันธุกรรมเพศผู้ให้แสดงออก เรียกว่า ลักษณะที่ปรากฏจำเพาะเพศ (Sex limited trails)
ตัวอย่างในคน เช่น การผลิตน้ำนมแสดงในเพศหญิง
ลักษณะที่สองของเพศชายและหญิง ในสัตว์เช่น เขายาวเขาสั้นของวัว ปริมาณการผลิตน้ำนมของแม่วัว เป็นต้น
ตัวอย่าง ในการผสมไก่เพศเมียขนแบบเฮนและเพศผู้ขนแบบคอร์ค ลูกไก่ที่เกิดจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์อย่างไรบ้าง
เพศเมียขนแบบเฮน เขียนจีโนไทป์ ได้ 3 แบบคือ HH , Hh และ hh
เพศผู้ขนแบบคอร์ค เขียนจีโนไทป์ ได้ 1 แบบคือ hh
การผสมจึงเกิดได้ 3 แบบดังนี้
ตัวอย่างในคน เช่น การผลิตน้ำนมแสดงในเพศหญิง
ลักษณะที่สองของเพศชายและหญิง ในสัตว์เช่น เขายาวเขาสั้นของวัว ปริมาณการผลิตน้ำนมของแม่วัว เป็นต้น
ตัวอย่าง ในการผสมไก่เพศเมียขนแบบเฮนและเพศผู้ขนแบบคอร์ค ลูกไก่ที่เกิดจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์อย่างไรบ้าง
เพศเมียขนแบบเฮน เขียนจีโนไทป์ ได้ 3 แบบคือ HH , Hh และ hh
เพศผู้ขนแบบคอร์ค เขียนจีโนไทป์ ได้ 1 แบบคือ hh
การผสมจึงเกิดได้ 3 แบบดังนี้
แบบที่ 1 HH + hh
= ได้ลูกเป็น Hh
ตัวเมีย มีขนแบบเฮน 100 % และตัวผู้ มีขนแบบเฮน 100 %
แบบที่ 2 Hh + hh
แบบที่ 2 Hh + hh
กฎการแยก H , h + h (2x1=1)
ได้ลูกเป็น Hh ,
hh
ตัวเมีย มีขนแบบเฮน 100 % ส่วนตัวผู้ มีขนเฮน
50 % และขนคอร์ค 50%
แบบที่ 3 hh
+ hh = ได้ลูกเป็น hh
ตัวเมีย
มีขนเฮน 100% ส่วนตัวผู้ มีขนคอร์ค
100%
สุดยอดมาก
ตอบลบ